ปัญหาใหญ่ สุขภาพเด็กไทย ที่ถูกละเลย
“เด็กไทย กับ ไอที
หยุด..ทำลายสมองเด็กด้วย ไอที !!!”
10 มีนาคม 2557 ณ โรงแรมแม่น้ำ รามาดาพลาซ่า
ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งป ระเทศไทย ร่วมกับ สมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไ ทย , สำนักงานกองทุนสนับสนุนการส ร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) และศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสร ิมความปลอดภัยและป้องกันการ บาดเจ็บในเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามา ธิบดี จัดงานประชุมวิชาการ เรื่อง ปัญหาใหญ่สุขภาพเด็กไทยที่ถ ูกละเลย // ในประเด็น “ เด็กไทย กับ ไอที !!! ”
รศ.นพ.ศิริไชย หงษ์สงวนศรี กุมารแพทย์ซึ่งเป็นอาจารย์ผ ู้เชี่ยวชาญด้านจิตเวชเด็กข องโรงพยาบาลรามาธิบดี กล่าวว่า ปัจจุบันเทคโนโลยีรุดหน้าไป เร็ว มีทั้งผลดีและไม่ดี โดยเฉพาะกับเด็ก เช่น เฟสบุค ไลน์ เกมส์ พบว่าเด็กใช้มาก ใช้ฟุ่มเฟือย เด็กเข้าถึงง่าย จนก่อให้เกิดปัญหาตามมา เช่น เกิดภาวะเสพติดการใช้จนมีผล เสียต่อพัฒนาการ การเรียน และสุขภาพ social media เหล่านี้ยังเป็นช่องทางก่อใ ห้เกิดความรุนแรง ไม่ว่าจะเป็นการถูกล่อลวง หรือเด็กเองทะเลาะกันระหว่า งกลุ่มจากความไม่พอใจที่ต่อ ว่ากันทางsocial media นำไปสู่การยกพวกตบตีล้างแค้ นกัน ฯลฯ
การเสพติดเกม ถือเป็นปัญหาหนึ่งที่สำคัญแ ละเป็นปัญหาทีเด็กทั่วโลกเผ ชิญ จากผลวิจัยพบว่า เด็กที่ติดเกมจะมีภาวะจิตใจ พึ่งพิง มีความสุขกับการเล่นจนไม่อย ากเลิก ต้องการเล่นมากขึ้น ไม่สนใจกิจวัตรประจำวันเช่น อดกิน อดนอน จนเสียสุขภาพ และจะโกรธ ก้าวร้าว เกมเหล่านี้ถูกออกแบบโดยผู้ เชี่ยวชาญหลายด้านให้ผู้เล่ นอยากเล่น มีลูกเล่นมากมายให้ผู้เล่นต ิดพัน นอกจากนั้นบางเกมเนื้อหายัง ก่อให้เกิดความหมกมุ่นในควา มรุนแรง เพศ ผลการตรวจ functional MRI ของสมองเด็กติดเกมพบว่า มีการเปลี่ยนแปลงการทำงานขอ งสมองมีการเชื่อมโยงลดลง ความจำลดลง ไอคิวลดลง ฯลฯ ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แนะนำ ให้เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ไม่ใช้สื่อหน้าจอทุกชนิดเลย ไม่ว่าจะเป็นทีวี คอมพิวเตอร์ เด็ก 3 ปีขึ้นไปใช้ 1-2 ชั่วโมงต่อวัน เด็ก 13 ปีถึงควรใช้ social media อย่างไรก็ตามพ่อแม่ก็ควรแนะ นำการใช้อย่างใกล้ชิด และวางกฎการใช้อย่างปลอดภัย ร่วมกันเสียแต่แรกด้วยเช่นก ารไม่เปิดเผยชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรให้คนไม่รู้จักกันผ ่านทาง social media
VIDEO
รศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมค วามปลอดภัยและป้องกันการบาด เจ็บในเด็ก กล่าวว่า ประเทศเกาหลี จีนซึ่งเป็นผู้ออกแบบและขาย เกมรายใหญ่ของโลก มีปัญหาเด็กติดเกมอย่างหนัก มีการแก้ปัญหาโดยการตั้งคลิ นิก ค่าย บำบัดเด็กติดเกม แต่นั่นก็เป็นวิธีแก้ปัญหาท ี่ปลายเหตุ และก็ไม่ง่ายที่จะทำให้สำเร ็จ ดังนั้นการป้องกันที่ต้นเหต ุน่าจะเป็นสิ่งจำเป็นเร่งด่ วน โดยเน้นมาตรการควบคุมเนื้อห าและควบคุมเวลาการใช้งาน นอกจากเราต้องให้ความรู้ครอ บครัวและเด็กในการรู้เท่าทั นและป้องกันตนเองจากสื่อร้า ยกาจเหล่านี้ เราควรเรียกร้องให้มีการออก กฎหมายคุ้มครองไม่ให้ผู้ผลิ ตเกมต่างๆใช้กลไกการตลาดอย่ างเสรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเด็ก อายุน้อยกว่า 13 ปีต้องได้รับการปกป้องไม่ให ้เป็นเหยื่อของการตลาด ส่วนเด็กโตต้องช่วยกันเสริม ความสามารถในการรู้เท่าทันด ้วยตนเอง นอกจากนั้นผู้ผลิตไม่ว่าจะเ ป็นผู้ผลิตเกม ผู้ผลิตเคริ่องมือสื่อสารต้ องมีความรับผิดชอบต่อสังคมด ้วย ในประเทศพัฒนาผู้ผลิตเหล่าน ี้มีส่วนร่วมจ่ายในการคิดค้ น พัฒนาเทคโนโลยีความปลอดภัยส ำหรับเด็กและครอบครัวทั้งขอ งทีวี โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ เช่น ทีวีรุ่นใหม่ใส่ชิพเรียก V-Chip ทำงานร่วมกับการเรทติงรายกา รต่างๆตามอายุเด็กและใส่โค๊ ดตามเรทติงที่ได้ลงไปในสัญญ าณการออกอากาศ ในบ้านที่มีเด็ก ผู้ใหญ่จะตั้งรหัสที่ให้เวล าที่เด็กดูทีวีกับครอบครัวเ ชิพนี้ทำงาน รายการที่ปรากฏก็จะเป็นรายก ารที่เหมาะสมสำหรับเด็กด้วย เท่านั้น นอกจากนั้นยังมี เครื่องที่เรียกว่า TV GUARDIAN ใช้คัดกรอง ตัดคำพูดหยาบคายออก เครื่อง TV TIMER ใช้จำกัดเวลาของสื่อหน้าจอท ุกอย่างในบ้านไม่ว่าจะเป็นท ีวี คอมพิวเตอร์ ให้เด็กใช้ได้ไม่เกินเวลาที ่เรากำหนดเช่น 1 ถึง 2 ชั่วโมงต่อวัน ในโทรศพท์มีการพัฒนา child safety mode ในรุ่นใหม่ไม่ว่าจะเป็น Samsung หรือ nokia จะมี internet filter คือคัดกรอง เวปไซต์ลามก หยาบคาย เกม หรือ การใช้social media ที่ไม่เหมาะสมตามอายุเด็ก บางค่ายมีการพัฒนาแอปพลิเคช ั่นที่ช่วยทำงานดังกล่าว รวมทั้งสามารถควบคุมเวลาการ ใช้งานของเด็กไม่ให้เกินคำแ นะนำการใช้ตามอายุของเด็ก99 ได้ด้วย .oFmiLyrmNRating Internet Filter (การใช้เรทติ้งกำหนดอายุเด็ กในการชมสื่อ) รวมถึง Application ต่างๆ ในมือถือ เช่น Kid Mode ฯลฯ ซึ่งประเทศไทยก็มีความพยายา มทำในเรื่องเหล่านี้อยู่
ในส่วนการดูแลเด็ก การให้ความรู้ครอบครัว ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์จะเผย แพร่ความรู้ผ่านช่องทางต่าง ๆต่อไป แต่ในส่วนการสร้างกลไกการตล าดที่มีคุณธรรม การค้าขายที่คำนึงถึงสิทธิค วามปลอดภัยของเด็กนั้น ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์เรียก ร้องให้ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงไอซีที เร่งทำเรื่องเรทติงเกม เวปไซท์ รายการทีวี และภาพยนตร์ และหามาตรการให้ผู้ผลิตสร้า งเทคโนโลยีต่างๆใส่เข้าไปใน เครื่องมือสื่อสาร และใส่ในระบบอินเทอร์เนตให้ สอดคล้องกับการเรทติงตามอาย ุ เพื่อช่วยเหลือพ่อแม่ในการด ูแลลูกในครัวเรือน รวมทั้งใช้เทคโนโลยีนี้ในกา รควบคุมร้านเกม หรือคอมพิวเตอร์ของห้องสมุด ของโรงเรียนต่างๆด้วย และเพื่อให้การตลาดของเครื่ องมือสื่อสารเป็นการตลาดที่ สะอาด ไม่ค่าขายเอากำไรกับเด็กอย่ างไม่มีคุณธรรม นางยุพา ทวีวัฒนธกิจบวร (กระทรวงวัฒนธรรม) กล่าวว่า …. ขณะนี้กระทรวงวัฒนธรรมได้ทำ โปรแกรมคัดกรองเกมไม่เหมาะส ม สำหรับครัวเรือนเรียกว่า Healthy Gamer พ่อแม่ที่สนใจขอรับได้ที่กร ะทรวง แต่ยังไม่ได้ใช้โปรแกรมคัดก รองในการควบคุมร้านเกม
VIDEO
VIDEO
VIDEO
VIDEO
VIDEO
album: งานประชุมวิชาการ “ปัญหาใหญ่สุขภาพเด็กไทยที่ถูกละเลย”