สงกรานต์นี้ใช้เบาะนิรภัยสำหรับเด็ก
เมื่อวันที่ 10 เม.ย.57 เวลา 13.30 น.
ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมค วามปลอดภัยและป้องกันการบาด เจ็บในเด็ก
จัดแถลงข่าว
“เดินทางท่องเที่ยวสงกรานต์ ปลอดภัย ด้วยที่นั่งนิรภัยสำหรับเด็ ก”
VIDEO
ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมค วามปลอดภัยและป้องกันการบาด เจ็บในเด็ก ร่วมกับ ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งป ระเทศไทย สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานกองทุนสนับสนุนก ารสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
จากข้อมูลของสำนักระบาดวิทย า กระทรวงสาธารณสุข พบว่าในแต่ละปีจะมีเด็กอายุ น้อยกว่า 15 ปี ประสบอุบัติเหตุจากการโดยสา รรถยนต์ทุกประเภท (ไม่รวมรถจักรยานยนต์) กว่า 5500 รายต่อปีหรือ 15 คนต่อวัน เป็นการบาดเจ็บรุนแรงที่ต้อ งการการนอนพักรักษาตัวหรือส ังเกตุอาการในโรงพยาบาลประม าณ 1400 คนต่อปี และเสียชีวิต รวมประมาณ 101 คนต่อปี
ในช่วง 7 วันของเทศกาลสงกรานต์ จะมีเด็กบาดเจ็บจากอุบติเหต ุทางถนนประมาณ 1100 ราย เป็นการบาดเจ็บรุนแรงที่เกิ ดจากการโดยสารรถยนต์ ทุกประเภท (ไม่รวมรถจักรยานยนต์) ประมาณ 132 ราย ในจำนวนนี้มีการเสียชีวิตจำ นวน 14 ราย
เมื่อรถยนต์ มีการเบรกอย่างกะทันหัน หักเลี้ยวอย่างฉับพลัน หรือ ชนอย่างรุนแรง สิ่งที่เกิดขึ้นในทันทีก็คื อ …ร่างของเด็กๆจะหลุดลอยจา กที่นั่ง ไปอัดกับแผงคอนโซลหน้ารถ ปะทะกับกระจกหน้ารถ แล้วทะลุลอยละลิ่วออกนอกรถ หรือ ประตูรถเปิดออก แล้วเด็กกระเด็นออกไปนอกรถ ด้วยรูปร่างเล็กบอบบางของเด ็กๆ จึงทำให้…กระโหลกศีรษะ กระดูกซี่โครง แขนขา แตกหัก ปอด หัวใจ รวมทั้งอวัยวะภายในช่องท้อง ต้องชอกช้ำ หรือ ฉีกขาดโดยเฉพาะศีรษะของเด็ก ๆ ที่กระแทกอย่างรุนแรง ทำให้มีเลือดออกในสมอง เป็นเหตุแห่งความพิการ หรือ เสียชีวิต…
กอดลูก..ให้นั่งตัก = รักลูกผิดทาง..เมื่อรถท่านม ีถุงลมนิรภัย
VIDEO
ภาพที่เราเห็นตามท้องถนน ส่วนใหญ่ก็คือ ผู้ใหญ่อุ้มเด็กบนตัก แล้วนั่งด้านหน้าข้างคนขับ พ่อแม่คงอยากให้ลูกอยู่ใกล้ ชิดเผื่อเกิดอุบัติเหตุลูกก ็คงปลอดภัยในอ้อมกอดของพ่อแ ม่ แต่ความจริงก็คือ…แรงมหาศ าลของการปะทะของจากการชน หรือแรงจากการเบรกกระทันหัน นั้นมันเกินกำลังที่พ่อแม่จ ะยึดลูกอยู่ หนำซ้ำการนั่งห่างจากถุงลมน ิรภัยใกล้กว่า 25 ซม เมื่อมันระเบิดออกมา แรงกระแทกจากถุงลมนิรภัยก็ส ามารถทำให้เกิดการบาดเจ็บรุ นแรงต่อเด็กได้
ถุงลมนิรภัยจะระเบิดกางออกโ ดยปฏิกิริยาเคมีก่อให้เกิดก ๊าซไนโตรเจน (30-100 ลิตรแล้วแต่รุ่น) อย่างรวดเร็วในเวลา 1/ 20 วินาที ผู้โดยสารจะได้รับความปลอดภัยเ สริมจากถุงลมต่อเมื่อนั่งห่ างถุงลมอย่างน้อย 25 ซม เท่านั้น หากนั่งใกล้กว่านี้ จะเกิดอันตรายจากการกระแทกข องถุงลมเอง โดยเฉพาะในเด็กที่นั่งตักแม ่ทำให้เด็กอยู่ห่างจากระยะร ะเบิดของถุงลมน้อยเกินไป มีรายงานการเสียชีวิตจากถุง ลมในอุบัติเหตุที่ไม่รุนแรง กว่าสองร้อยราย ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเป็นเด็กน้อยกว่าสิบสองป ี และการบาดเจ็บของสมองเป็นสา เหตุหลัก
มีรายงานโดยศูนย์ควบคุมโรคข องสหรัฐ (Center for Disease Control) ถึงการตายของเด็กอายุ 3 สัปดาห์ – 12 ปีที่เกิดจากถุงลมนิรภัย และการศึกษาที่ประเทศกรีกใน เด็ก 129 รายอายุ 0-11 ปีที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัต ิเหตุรถยนต์โดยนั่งด้านหน้า และไม่ได้ใช้ที่นั่งนิรภัย พบว่าเด็กกลุ่มนี้มีความเสี ่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บมากก ว่ากลุ่มที่นั่งด้านหลังและ ไม่ได้ใช้ที่นั่งนิรภัยเช่น กันถึง 5 เท่าตัว เบาะหลังจึงเป็นตำแหน่งที่ป ลอดภัยสำหรับเด็กอายุน้อยกว ่า 13 ปี
สำหรับเด็กนั้นจะใช้เข็มขัด นิรภัยที่ติดมากับรถยนต์ได้ เหมาะสมปลอดภัยก็ต่อเมื่อ …มีอายุ 9 ปีขึ้นไป หรือ มีน้ำหนัก
มากกว่า 30 กก หรือความสูงตั้งแต่ 140 ซ.ม. ขึ้นไป…เท่านั้น มิฉะนั้นเข็มขัดนิรภัย อาจกลายเป็นตัวการทำอันตราย ต่อเด็กๆอย่างรุนแรง แต่ใน พรบ. จราจรของบ้านเรากำหนดไว้ในม าตรา 123 ว่า ผู้ขับขี่รถยนต์ต้องรัดร่าง กายด้วยเข็มขัดนิรภัย ไว้กับที่นั่งในขณะขับขี่ รถยนต์ และต้องจัดให้คนโดยสารรถยนต ์ ซึ่งนั่งที่นั่งตอนหน้าแถวเ ดียวกับ ที่นั่งผู้ขับขี่รถยนต์รัดร ่างกายไว้กับที่นั่งด้วยเข็ มขัดนิรภัย
หากเด็กอายุน้อยกว่า 9 ปี หรือ สูงน้อยกว่า 140 ซม. แทนที่เข็มขัดนิรภัยสายล่าง จะพาดบนหน้าตัก และ แนบบริเวณเชิงกราน แต่กลับมารัดตรงท้องน้อย สายบนแทนที่จะพาดที่หน้าอก และ ไหล่ ก็กลับมารัดที่ลำคอของเด็ก ดังนั้น หากรถเบรกหรือชนอย่างกะทันห ัน เข็มขัดจะทำอันตรายแก่ อวัยวะภายในช่องท้องและลำคอ ของเด็กได้
รักลูกอย่ากอด…ใช้ที่นั่งนิ รภัย
VIDEO
1. หากลูกของเรามีอายุไม่เกิน 9 ปี “ที่นั่งหรือเบาะนิรภัยสำหร ับเด็ก” จะช่วยปกป้องความชีวิตของเด ็กๆ National Highway Traffic Safety Administration ของสหรัฐได้ทำการศึกษาและพบ ว่า ที่นั่งพิเศษสำหรับเด็กนี้จ ะลดความเสี่ยงต่อการตายในเด ็กทารกถึงร้อยละ 69 และเด็ก1-4 ปี ร้อยละ 47 ขณะเดียวกันจะลดความเสี่ยงต ่อการตายในเด็กอายุมากกว่า 5 ปีได้ร้อยละ 45 และลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ ็บรุนแรงร้อยละ 50
2. สำหรับทารกที่อายุน้อยกว่า 2 ปี ต้องใช้ที่นั่งนิรภัยสำหรับ ทารก และต้องจัดวางที่นั่งนิรภัย ที่เบาะหลัง โดยหันหน้าไปทางด้านหลังรถเ ท่านั้น เพื่อลดโอกาสความเสี่ยงต่อก ารเกิดกระดูกต้นคอหักจากการ สะบัดของศีรษะเมื่อเกิดการช นหรือเบรครุนแรง
3. เด็กอายุ 2-3 ปี ให้พยายามใช้ที่นั่งนิรภัยท ี่เบาะหลัง โดยหันหน้าไปทางด้านหลังรถต ราบเท่าที่ตัวเด็กไม่สูงเกิ นที่นั่งนิรภัย หรือน้ำหนักไม่เกินตามที่บร ิษัทกำหนดไว้ หากเด็กตัวโตเกินกว่าข้อกำห นดที่นั่งนิรภัยแล้ว ให้เปลี่ยนเป็นที่นั่งนิรภั ยสำหรับเด็กเล็กซึ่งจะหันหน ้าไปทางด้านหน้ารถตามปรกติ แต่ยังคงใช้ที่เบาะหลังเท่า นั้น
4. เด็กอายุ 4-7 ปี ให้ใช้ที่นั่งสำหรับเด็กเล็ กต่อไปจนตัวสูงหรือน้ำหนักเ กินกว่าข้อกำหนดของที่นั่งน ิรภัยที่ใช้ จึงเปลี้ยนมาเป็นที่นั่งเสร ิม (booster seat) ซึ่งจะราคาประหยัด ไม่มีเข็มขัดนิรภัยในตัว ใช้เข็มขัดนิรภัยรถยนต์เป็น อุปกรณ์ยึดเหนี่ยว เด็กวัยนี้ยังคงต้องนั่งเบา ะหลังเท่านั้น
5. เด็กอายุ 8-12 ปี ควรใช้ที่นั่งเสริม (booster seat) จนกว่าสามารถใช้เข็มขัดนิรภ ัยได้พอดี โดยทั่วไปควรจะต้องมีอายุมา กกว่า 9 ปี ขึ้นไป
6. เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูง สุด เด็กที่อายุน้อยกว่า 12 ปีต้องนั่งเบาะหลังเท่านั้น
7. ในกรณีรถปิกอัพ ห้ามมิให้เมีผู้โดยสารในกะบ ะหลัง โดยเพาะอย่างยิ่งเด็กโดยเด็ ดขาด ผู้โดยสารในกะบะหลังมีความเ สี่ยงมากกว่าผู้นั่งในรถ 3 เท่าตัว เด็กที่นั่งในรถปิกอัพต้องใ ช้ที่นั่งนิรภัยเหมือนกัน แต่ให้ใช้กับที่นั่งตอนหน้า โดยหันหน้าตามปรกติและต้องไ ม่มีถุงลมข้างคนขับ (หรือมีแต่สามารถปิดการทำงา นได้)
VIDEO
ผู้ร่วมแถลงข่าว
รศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ตำแหน่ง หน.ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสร ิมความปลอดภัยและป้องกันการ บาดเจ็บในเด็ก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
นางนัยนา ขนอนเวช ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ โรงเรียนอนุบาลทานตะวัน
ครอบครัวกรณีศึกษา ที่ตระหนักถึงความสำคัญในกา รใช้ที่นั่งนิรภัยสำหรับเด็ กบนรถยนต์
ณ ห้องประชุมศูนย์วิจัยฯ อ.บำบัดน้ำเสีย ชั้น 3 รพ.รามาธิบดี