วันพุธที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๑ เวลา ๑๓.๓๐ น. นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค พร้อมด้วยพลตำรวจตรี ประสิทธิ์ เฉลิมวุฒิศักดิ์ เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมลงพื้นที่ตรวจสอบความปลอดภัยของเครื่องเล่นในสวนน้ำและสวนสนุก เพื่อเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยที่อาจเกิดขึ้นกับผู้บริโภคและสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคช่วงเทศกาลสงกรานต์ และช่วงปิดภาคการศึกษา ณ สวนสยาม เขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร
คลังเก็บป้ายกำกับ: วันสงกรานต์
3 ภัยเสี่ยง ที่ควรเลี่ยงวันสงกรานต์ (12 เม.ย.2560 )
Nation TV “พูดคุยเรื่องราว 3 ภัยเสี่ยง ที่ควรเลี่ยงวันสงกรานต์ ควรเที่ยวอย่างไร เที่ยวที่ไหน จึงจะทำให้ลูกหลานของคุณไม่เสี่ยงตาย”
กับ รศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์
หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยในเด็ก
เตือนอันตรายในเด็กช่วงวันหยุดยาว ( 11 เม.ย.2559)
ปิดเทอมเป็นเวลาว่างเว้นจากการเรียนของเด็กๆ พ่อแม่ไม่ควรกำหนดให้ลูกต้องเรียนพิเศษอย่างเคร่งเครียดเพิ่มเติมมากเกินไป ควรสนับสนุนให้เด็กๆได้พักผ่อน ออกกำลังกาย เข้าร่วมกิจกรรมที่สนุกสนานที่แฝงด้วยความรู้รอบตัวต่างๆ อย่างไรก็ตามต้องพึงสังวรถึงอันตรายต่างๆที่จะเกิดขึ้นได้ในช่วงสามเดือนอันตราย ความสนุกจะได้ไม่กลับกลายเป็นความเศร้าของเพื่อนๆนักเรียนที่ได้ยินข่าวร้ายในวันเปิดเทอม
(8 เม.ย.2558) ไทยพีบีเอส ภัยเด็กในวันสงกรานต์
(3 เม.ย.2558) Bright tv ช่อง20 ภัยของปืนฉีดน้ำ..กับเทศกรานต์สงกรานต์
ทีมข่าว Bright tv ช่อง20
สัมภาษณ์ รศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ เรื่อง
ภัยของปืนฉีดน้ำ..กับเทศกรา
album: Bright tv ช่อง20 ภัยของปืนฉีดน้ำ..กับเทศกรานต์สงกรานต์
ทีมข่าว Bright tv ช่อง20 สัมภาษณ์ รศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ เรื่องภัยของปืนฉีดน้ำ..กับเทศกรานต์สงกรานต์เมื่อวันที่ 3 เม.ย.2558 เวลา 14.20 น.www.csip.org–
Posted by ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก รพ.รามาธิบดี on Friday, April 3, 2015
> 10 เมษายน 2557 สงกรานต์นี้ใช้เบาะนิรภัยสำหรับเด็ก
สงกรานต์นี้ใช้เบาะนิรภัยสำหรับเด็ก
เมื่อวันที่ 10 เม.ย.57 เวลา 13.30 น.
ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมค
จัดแถลงข่าว
“เดินทางท่องเที่ยวสงกรานต์
ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมค
จากข้อมูลของสำนักระบาดวิทย
ในช่วง 7 วันของเทศกาลสงกรานต์ จะมีเด็กบาดเจ็บจากอุบติเหต
เมื่อรถยนต์ มีการเบรกอย่างกะทันหัน หักเลี้ยวอย่างฉับพลัน หรือ ชนอย่างรุนแรง สิ่งที่เกิดขึ้นในทันทีก็คื
กอดลูก..ให้นั่งตัก = รักลูกผิดทาง..เมื่อรถท่านม
ภาพที่เราเห็นตามท้องถนน ส่วนใหญ่ก็คือ ผู้ใหญ่อุ้มเด็กบนตัก แล้วนั่งด้านหน้าข้างคนขับ พ่อแม่คงอยากให้ลูกอยู่ใกล้
ถุงลมนิรภัยจะระเบิดกางออกโ
มีรายงานโดยศูนย์ควบคุมโรคข
สำหรับเด็กนั้นจะใช้เข็มขัด
มากกว่า 30 กก หรือความสูงตั้งแต่ 140 ซ.ม. ขึ้นไป…เท่านั้น มิฉะนั้นเข็มขัดนิรภัย อาจกลายเป็นตัวการทำอันตราย
หากเด็กอายุน้อยกว่า 9 ปี หรือ สูงน้อยกว่า 140 ซม. แทนที่เข็มขัดนิรภัยสายล่าง
รักลูกอย่ากอด…ใช้ที่นั่งนิ
1. หากลูกของเรามีอายุไม่เกิน 9 ปี “ที่นั่งหรือเบาะนิรภัยสำหร
2. สำหรับทารกที่อายุน้อยกว่า 2 ปี ต้องใช้ที่นั่งนิรภัยสำหรับ
3. เด็กอายุ 2-3 ปี ให้พยายามใช้ที่นั่งนิรภัยท
4. เด็กอายุ 4-7 ปี ให้ใช้ที่นั่งสำหรับเด็กเล็
5. เด็กอายุ 8-12 ปี ควรใช้ที่นั่งเสริม (booster seat) จนกว่าสามารถใช้เข็มขัดนิรภ
6. เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูง
7. ในกรณีรถปิกอัพ ห้ามมิให้เมีผู้โดยสารในกะบ
ผู้ร่วมแถลงข่าว
รศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ตำแหน่ง หน.ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสร
นางนัยนา ขนอนเวช ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ โรงเรียนอนุบาลทานตะวัน
ครอบครัวกรณีศึกษา ที่ตระหนักถึงความสำคัญในกา
ณ ห้องประชุมศูนย์วิจัยฯ อ.บำบัดน้ำเสีย ชั้น 3 รพ.รามาธิบดี
เมื่อวันที่ 10 เม.ย.57 เวลา 13.30 น.ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็กจัดแถลงข่าว“เดินท…
Posted by ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก รพ.รามาธิบดี on Thursday, April 10, 2014